โครงการ
การส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปสมุนไพรอินทรีย์

ข้อมูลพื้นฐานชุมชน

เมื่อประมาณ 300 ปีมาแล้ว มีราษฎรชาวบ้านกลุ่มหนึ่งได้เข้ามาจับจองที่ทาการเกษตร เผาถางป่าเพื่อ ทานา – ทาไร่ และดารงชีวิตอยู่ ตามปกติ และอยู่มาวันหนึ่ง ชาวนา ได้นาโคกระบือ ไปเลี้ยงที่ทุ่งนาตามปกติ ฝูงวัวควายได้เดินไปในลาคลอง เพื่อกินน้าเจ้าของโคกระบือได้เดินตามลงไปเห็นน้าที่ริมฝั่งนั้นเดือดอยู่จึงได้เอามือไปสัมผัสรู้สึกร้อนมาก ในวันต่อมาชาวนาได้เอาผักบุ้งไปใส่รู้สึกว่าผักบุ้งยุบและสุกวันต่อมาชาวบ้านได้นาไข่ไปใส่น้าที่เดือดนั้นอีก ปรากฏว่าไข่นั้นสุกรับประทานได้ชาวบ้านได้ป่าวร้องไปทั่วหมู่บ้าน จึงได้พร้อมใจกันจัดตั้งหมู่บ้านขึ้นชื่อว่า ( หมู่บ้านน้าร้อน) และยังมีสัญลักษณ์ อีกอย่างหนึ่ง คือ หลุมฆ้องทองคา เนื่องจากสมัยนั้นหัวหน้าหมู่บ้านได้ฝันว่าหลุมฆ้องทองคาอยู่ใกล้บ่อน้าร้อนที่กาลังเดือดห่างจากคลองประมาณ 8 เมตร ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งประมาณ 9-10 คน ขุดลงไปประมาณ 4 เมตร ปรากฏว่าเจอฆ้องทองคา บรรดาชาวบ้านต่างคนต่างจะนาเอาไปทาสร้อยคอ และสร้อยแขนให้ภรรยา บางคนจะยกเข้าไปไว้ที่วัด ตกลงกันไม่ได้ ผลสุดท้ายฆ้องทองคานั้นสาแดงฤทธิ์หมุนจากพื้นดินลงสู่พื้นคลองน้าร้อนทันทีและบันดาลให้เกิดน้าท่วมขึ้นทันทีด้วยอิทธิฤทธิ์อันศักดิ์สิทธิทาให้ผู้ที่ร่วมกันขุดนั้น ลอยบกได้โดยไม่มีน้าแม้แต่นิดเดียว จึงได้ชื่อว่า “ บ่อน้าร้อน ฆ้องทองคา ” ตาบลน้าร้อนสมัยนั้นมี 4 หมู่ คือ 1-4 ซึ่งขึ้นอยู่กับ ตาบลนาป่า และต่อมาก็เปลี่ยนมาเป็น ตาบลตะเบาะ และต่อมาก็เปลี่ยนจาก ตาบลตะเบาะ เป็นตาบลน้าร้อน ประมาณปี 2515 จนถึงปัจจุบันนี้ตาบลน้าร้อนก็ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 11 หมู่บ้าน สภาพทั่วไป องค์การบริหารส่วนตาบลน้าร้อน ตั้งอยู่ เลขที่ 39/1 หมู่ 9 ตาบลน้าร้อน อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอาเภอเมืองเพชรบูรณ์ ระยะทางจากที่ว่าการอาเภอเมืองเพชรบูรณ์ ประมาณ 15 กิโลเมตร พื้นที่ประมาณ 46,767 ไร่ หรือ 74.83 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่มเชิงเขา พื้นดินเป็นดินร่วน แหล่งน้าที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สามารถกักเก็บน้าไว้ใช้ได้ตลอดทั้งปี พื้นที่ส่วนใหญ่จึงใช้น้าจากแหล่งกักเก็บน้าตามธรรมชาติในการทาการเกษตร และมีจานวนหมู่บ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบจานวนทั้งสิ้น 11 หมู่บ้าน